วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

เอ็ม1 กาแรนด์

เอ็ม1 กาแรนด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปืน M1 Garand
ปืน M1 Garand พร้อมคลิปกระสุนแบบ en bloc
ปืน M1 Garand
ชนิดปืนเล็กยาวจู่โจม
สัญชาติFlag of the United States USA
สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
การใช้งานอาวุธประจำกาย
เป้าหมายบุคคล
เริ่มใช้1939
ช่วงผลิต1936-1957
ช่วงการใช้งาน1936-1957
ผู้ใช้งาน
สงครามสงครามโลกครั้งที่ 2, สงครามเกาหลี, สงครามเวียดนาม
ขนาดลำกล้อง0.30 นิ้ว (7.62 มิลลิเมตร) 4 เกลียว เวียนขวา
ระยะครบรอบเกลียว10 นิ้ว (1:10)
ความยาวลำกล้อง24 นิ้ว (609.6 มิลลิเมตร)
กระสุน.30-06 Springfield
ซองกระสุนแบบ En Bloc ความจุ 8 นัด
ระบบปฏิบัติการขับดันด้วยก๊าซ (Gas-operated) ขัดกลอนด้วยลูกเลื่อนหมุนตัว (Rotating Bolt)
อัตราการยิง
ความเร็วปากลำกล้อง2,800 ฟุต/วินาที (853 เมตร/วินาที)
ระยะยิงหวังผล440 หลา (402 เมตร)
ระยะยิงไกลสุด3,450 หลา (3,200 เมตร)
น้ำหนัก9.5 ปอนด์ (4.31 กก.) น้ำหนักปืนเปล่า
11.6 ปอนด์ (5.3 กิโลกรัม) น้ำหนักปืนพร้อมกระสุน
ความยาว43.5 นิ้ว (1,107.4 มิลลิเมตร)
แบบอื่นM1C, M1D
ปืน M1 Garand เป็นอาวุธปืนเล็กยาวประจำกายขนาด 0.30 นิ้ว ที่เข้าประจำการในกองทัพสหรัฐฯในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสงครามเกาหลี ออกแบบโดยจอห์น ซี กาแรนด์ (John C. Garand) ชาวแคนาดา เชื้อสายฝรั่งเศส ตามโครงการจัดหาปืนเล็กยาวขนาด 0.30 นิ้วรุ่นใหม่ทดแทนปืนเล็กยาว M1903 Springfield ที่ทยอยปลดประจำการไปให้กองกำลังท้องถิ่น
ปืน M1 Garand มีคุณสมบัติในการยิงแบบกึ่งอัตโนมัติ ความแม่นยำสูง สามารถเล็งยิงซ้ำได้อย่างรวดเร็ว ตอนแรกนายการ์แรนด์ได้ออกแบบปืน M1 Garand ให้ใช้กับกระสุนขนาด 7×51 มิลลิเมตร (.276 Pedersen) และสามารถบรรจุในคลิปกระสุนได้ 10 นัด แต่เมื่อกองทัพสหรัฐฯรับมาพิจารณาใน ค.ศ.1932 ก็มีคำสั่งให้ใช้กระสุน .30-06 ทำให้ความจุเหลือเพียง 8 นัด และรับเข้าประจำการเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1936 ให้ชื่อเป็นทางการว่า United States Rifle, Caliber .30, M1 และเข้าประจำการในกองทัพบกเป็นหน่วยแรก ภายหลังได้มีการพัฒนาอุปกรณ์พิเศษ เช่น กล้องเล็ง เครื่องยิงลูกระเบิด ดาบปลายปืน รวมถึงการพัฒนาในโครงการต่างๆเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของปืนรุ่นนี้ เช่น การพัฒนาให้สามารถใช้ซองกระสุน 20 นัดของปืนเล็กกล Browning Automatic Rifle (BAR) ได้ในโครงการ T20
ปืน T20 ตัวต้นแบบ
ปัจจุบันกองทัพสหรัฐฯได้ปลดประจำการปืน M1 Garand ทั้งหมดและประจำการด้วยปืนเอ็ม 16 แทน โดยปืนบางส่วนทางการสหรัฐฯได้มอบให้แก่กองกำลังท้องถิ่นและมิตรประเทศตามโครงการให้ความช่วยเหลือทางทหาร (JUSMAG) ในช่วงสงครามเย็นซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย โดยประเทศไทยได้รับมอบปืนรุ่นนี้สำหรับใช้ในภารกิจปราบปรามและรักษาความสงบภายในประเทศ ก่อนจะทยอยปลดประจำการเป็นอาวุธสำรองราชการและใช้เป็นปืนฝึกท่าอาวุธสำหรับนักศึกษาวิชาทหารในภายหลัง
ประวัติปืน STEYR  AUG
ปืน STEYR AUG เป็นปืนเล็กยาวของประเทศออสเตรีย ออกแบบขึ้นในปี ค.ศ. 1970 โดย Steyr Mannlicher GmbH & co KG ( หรือ Steyr Daimler- Puch ในขณะนั้น ) AUG ย่อมาจาก ( Armee Universal Gewehr หรือ Universal Army Rifle ในภาษาอังกฤษ ) หรือน่าจะแปลเป็นไทยได้ว่าปืนไรเฟิลอเนกประสงค์สำหรับกองทัพ เจตนาดั้งเดิมเพื่อผลิตมาทดแทนปืน FN FAL หรือในรหัส Stg 58 ที่ประจำการอยู่ในขณะนั้น โดยมีรหัสทางการว่า Stg 77 เลข 77 บอกถึงปีที่ AUG เข้าประจำการ แต่ในความเป็นจริงแล้ว AUG เข้าประจำการในกองทัพ ปี ค.ศ.1978 AUG ประจำการในกองทัพบกของออสเตรียรวมถึงหน่วยงานตำรวจ รวมถึงในกองทัพของอาเจนติน่า , ออสเตรเลีย, ( บรรจุเข้าในปี ค.ศ.1985 ภายหลังออสเตรเลียได้ซื้อแบบแผนไปผลิตเองด้วย ) นิวซีแลนด์ , โบลิเวีย , เอคควาดอร์ (1988 ) , ไอร์แลนด์ , ลักซ์เซมเบอร์ก , ซาอุดิอาระเบีย , ตูนิเซีย ( 1978 ) , ปากีสถาน รวมถึงตม.ของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1988
1 คะแนน |
 
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
AUG ได้รับการออกแบบให้มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูงมีลำกล้องหลากหลายขนาด เพื่อการใช้งานในสภาวะที่แตกต่างกันไป ชิ้นส่วนของ AUG จะผลิตขึ้นจากโพลิเมอร์ และมีส่วนประกอบที่เป็นเหล็กเฉพาะที่ต้องการความแข็งแรง
0 คะแนน |
 
 
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
AUG A1 ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลัก 6 ชิ้นได้แก่ ลำกล้อง , โครงปืนด้านบนทำเป็นหูหิ้วและมีกล้องเล็งติดในตัว , ลูกเลื่อน และห้องลูกเลื่อน , ชุดลั่นไก , พานท้ายและแม็กกาซีน ระบบการทำงานของ AUG เป็นระบบ GAS operated ยิงในสภาวะลูกเลื่อนปิด กระบอกสูบที่อยู่ทางด้านขวาของปืน ซึ่งจะเป็นตัวรับแรงดันของแก็สที่เกิดจากการเผาไหม้ไปผลักไกด์ร็อดข้างขวา เพื่อดันนกปืนให้ขัดกับเซียร์ไว้ หลังจากเคลื่อนที่สุดระยะแล้วไกด์ร็อดที่ติดอยู่กับชุดลูกเลื่อนก็จะวิ่ง กลับไปข้างหน้าด้วยพลังงานจากสปริงไกด์ร็อดพร้อมพากระสุนเข้ารังเพลิง และหน้าลูกเลื่อนก็จะหมุนตัวตามร่องบังคับให้เข้าไปขัดกลอน รอการเหนี่ยวไกนัดต่อไป
1 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
การ ยิงนัดแรกใช้วิธีการดึงคันลูกเลื่อนให้ถอยหลังแล้วปล่อยให้ลูกเลื่อนพากระสุ นบรรจุเข้ารังเพลิง แต่ถ้าเป็นในรอบของการยิงระบบปฏิบัติการจะทำงานโดยหลังจากการยิงในนัดแรกไป แล้ว แก็สที่เกิดจากการเผาไหม้จะไหลย้อนกลับมาผลัก ในระบบการยิง AUG สามารถยิงได้ทั้งแบบเซมิออโต้หรือฟูลออโต้ บังคับโดยการเหนี่ยวไกเท่านั้น คือหากบีบไกเข้ามาประมาณครึ่งทางก็จะเป็นการยิงแบบเซมิออโต้แต่ถ้าหากบีบไก เข้ามาจนสุดปืนก็จะยิงในแบบฟูลออโต้ทันที
0 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
ทำ ให้ใช้งานง่ายแต่ก็ต้องระมัดระวังอยู่เหมือนกัน มีระบบห้ามไกแบบกลอนขวางติดตั้งอยู่ การห้ามไกจะเป็นการตัดการทำงานของชุดลั่นไก ตัวปรับแรงดันแก็สมี 3 ระดับ แบบเปิดระดับ 1 ใช้ยิงในสภาวะปกติ แบบเปิดระดับ 2 ใช้ยิงในสภาวะอากาศเลวร้าย หรือมีฝุ่นละอองดินทรายมากๆ เช่นในการรบในพื้นที่ทะเลทรายเป็นต้น ตำแหน่ง 3 เป็นระดับปิด ใช้กับการยิงลูกระเบิดจากปากกระบอกโดยตรง
1 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
แม็ก กาซีนเป็นแบบเรียงเหลื่อมบรรจุลูกขนาด 5.56 x 45 มม. NATO หรือ .223 ได้ 30 นัด น้ำหนักแม็กฯเปล่าอยู่ที่ 130 กรัม ( 4.59 ออนซ์ ) ในส่วนของเวอร์ชั่นที่เป็นปืนกลเบาจะใช้แม็กฯขนาดจุ 42 นัด หลังจากการยิงกระสุนนัดสุดท้ายแล้วลูกเลื่อนจะเปิดค้างไว้
0 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
ลำกล้องสามารถถอดเปลี่ยนได้ง่าย ผลิตขึ้นจากเหล็ก Cold hammer forged ลำกล้องและท่อทางเดินแก็สทั้งหมดชุบโครเมี่ยม ลำกล้องมี 6 ร่องเกลียวเวียนขวาหมุนครบรอบที่ 9 นิ้ว หรือ 228 มม. ปลอกลดแสงติดตั้งมาให้กับลำกล้องขนาด 350 มม. ( 13.8 นิ้ว ) ,407 มม. (16 นิ้ว ) , และ 508 มม. (20 นิ้ว ) และสำหรับขนาดลำกล้องยาว 621 มม. ( 24 นิ้ว ) จะติดตั้ง Muzzle Brake ที่ทำหน้าที่เป็นปลอกลดแสงและคอมเพนเซเตอร์ในตัว และสำหรับลำกล้องขนาด 407 มม.และ 508 มม. ยังสามารถยิงลูกระเบิดจากปากลำกล้องได้ สำหรับขนาดมาตรฐานที่ใช้ในกองทัพจะเป็นขนาดลำกล้องยาว 508 มม. และยังมี 2 อ็อฟชั่นให้เลือกคือ แบบลำกล้องติดศูนย์หน้าแบบศูนย์ตายมาให้ และอีกแบบคือติดตั้งเครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 40 มม. M 203 มาให้
1 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
โครง ปืนผลิตขึ้นจากอลูมิเนียมอัลลอยด์ ด้านบนโครงปืนเป็นหูหิ้วในตัวพร้อมกล้องเล็งกำลังขยาย 1.5 เท่า ผลิตโดย ซวารอฟสกี้ กล้องเล็งถูกตั้งระยะยิงไว้ที่ 300 ม. นอกจากนี้ยังมีศูนย์เปิดทั้งหน้า – หลัง ติดตั้งอยู่ด้านบนของศูนย์กล้องในกรณีฉุกเฉิน เช่นสภาพอากาศเลวร้ายหรือศูนย์กล้องเสีย นอกไปจากนี้หากต้องการติดตั้งอุปกรณ์เสริมอื่นๆยังสามารถสั่งรางเสริมที่ สามารถติดอุปกรณ์มาตรฐาน NATO ได้ต่างหาก ด้ามปืนผลิตขึ้นจากไฟเบอร์กลาส – โพลิเมอร์ ( Polyamide 66 ) โกร่งไกออกแบบมาให้กว้างสามารถสวมถุงมือยิงได้
0 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
นอกจากนี้ Steyr ยังได้ผลิตรุ่น AUG P สำหรับเชิงพาณิชย์เพื่อจำหน่ายให้กับบุคคลทั่วไป ( ในบางประเทศที่อนุญาตไรเฟิลชนวนกลางกึ่งอัตโนมัติ สำหรับประเทศไทยไม่อนุญาตครับ ) ซึ่งลำกล้องจะยาว 407 มม. ( 16 นิ้ว ) และมีกลไกการยิงแบบกึ่งอัตโนมัติเท่านั้น ในชุดของปืน 1 กระบอกจะประกอบด้วย แม็กกาซีนขนาดมาตรฐาน 4 แม็กฯ , ฝาปิดปากกระบอกปืน , ชุดลูกเลื่อน 2 ชุดทั้งคนถนัดซ้ายและขวา , ลูกดัมมี่ , อุปกรณ์ทำความสะอาด , สายสะพายปืน
1 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
AUG ยังได้ผลิตปืนกลเล็กที่ใช้กระสุน 9 x 19 มม. พาราฯ ด้วย เพียงแต่ระบบปฏิบัติการเปลี่ยนเป็น โบลว์แบ็ค ใช้ชื่อรุ่นว่า AUG SMG มีลำกล้องยาว 420 มม. ( 16.5 นิ้ว ) 6 ร่องเกลียวเวียนขวาครบรอบที่ระยะ 250 มม. ( 9.8 นิ้ว ) ติดตั้งคอมเพนเซเตอร์ และเปลี่ยนมาใช้แม็กกาซีนบรรจุ 25 นัด ที่เอามาจากปืน Steyr MPi 81 กับ TMP , รวมถึงชุดคอนเวอร์ชั่นที่ใช้เปลี่ยน AUG ธรรมดาให้กลายเป็นปืนพกกลได้ก็มีจำหน่าย ในชุดประกอบด้วย ลำกล้อง , ลูกเลื่อน และชุดแปลงแม็กกาซีน
1 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
Steyr AUG เป็นปืนไรเฟิลสไตล์ Bullpup ที่ได้รับความนิยมสูงมากและจัดเป็นไรเฟิลที่ดีที่สุดรุ่นหนึ่ง ด้วยความยืดหยุ่นในการนำไปใช้งาน ทำให้ได้รับการยอมรับและถูกบรรจุเข้าใช้งานในกองทัพในหลายทวีปทั่วโลก จนถึงในปัจจุบัน AUG ได้ปรับปรุงมาจนถึงเวอร์ชั่น A3 แล้ว โดยก่อนหน้านี้ Steyr ผลิต AUG A2 ขึ้นในปี ค.ศ. 1997 รูปทรงโดยรวมเปลี่ยนไปบ้างเล็กน้อย โดยด้านบนโครงปืนจะเป็นแบบเรียบและมีรางติดกล้องเล็งมาให้ โดยตัดกล้องเล็งแบบติดตายตัวออกไป และในปี ค..ศ. 2005 ก็ได้เปิดตัว AUG A3 ออกมา โดยรุ่นนี้จะมีรางแบบ picatinny ติดมาให้ทั้ง 3 ด้าน บริเวณส่วนด้านหน้าของโครงปืน และด้านบนยังมีรางครอบเอาไว้และติดตั้งอุปกรณ์เสริมได้ทุกชนิดตามมาตรฐาน NATO
1 คะแนน |
M4A1_Carbine
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
AUG A3
1 คะแนน |
 
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
AUG A3 (2)
1 คะแนน |
 
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
AUG A3 (3)
1 คะแนน |
 
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
น้ำหนัก 3.6 กก. { 7.94 ปอนด์ } ตัวมาตรฐาน
3.3 กก. { 7.28 ปอนด์ } Carbine
3.2 กก. { 7.05 ปอนด์ }Subcarbine
3.9 กก. { 8.6 ปอนด์ } LMG
3.3 กก. { 7.28 ปอนด์ } SMG
ยาวตลอด 790 มม. { 31.1 นิ้ว } มาตรฐาน
690 มม. { 27.2 นิ้ว }
630 มม. { 24.8 นิ้ว }
900 มม. { 35.4 นิ้ว }
665 มม. { 26.2 นิ้ว }
ยาวลำกล้อง 508 มม. ( 20นิ้ว )
407 มม. (16 มม. (16 นิ้ว)
350 มม. (13.8 นิ้ว)
621 มม. (24.4 นิ้ว)
420 มม. (16.5 นิ้ว)

กระสุน
5.56 x 45 mm. NATO
9 x 19 {AUG SMG }

ระบบปฏิบัติการ แก็สโอเปเรชั่น ,ลูกเลื่อนปิด
อัตราการยิง 680 – 850 นัด / วินาที
ความเร็วปากกระบอก 940 ม./ วินาที ( 3,084 ฟุต / วินาที )
ระยะหวังผล 450 – 600 ม.
ความจุกระสุน 30 – 42 นัด
ศูนย์ กล้องเล็งติดตั้งตายตัวกำลังขยาย 1.5 เท่า ผลิตโดย ซวารอฟสกี้และศูนย์เปิดติดบนกล้องเล็ง

1 คะแนน |
 
เมื่อ มากกว่า 3 ปีที่แล้ว
Boston Celtics สู้ตาย!
ประวัติปืน STEYR  AUG
ทหาร & AUG

ปืนไฟ

ปืนไฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปืนไฟแบบยาว
ปืนไฟแบบสั้น
ปืนไฟแบบสั้นอีกแบบ
ปืนไฟ หรือ ปืนคาบชุด (อังกฤษ: Arquebus) เป็นปืนชนิดหนึ่ง

[แก้] หลักการทำงาน

การยิงนั้นใช้การจุดชนวนด้วย "ชุด" (match) ซึ่งทำมาจากเส้นด้ายชุบเชื้อไฟเพื่อให้เส้นด้ายเกิดการลุกไหม้อย่างช้าๆ คาบเส้นด้ายไว้ด้วยกระเดื่อง ที่มีลักษณะเหมือนหัวงูซึ่งมีลักษณะโค้งงอไปมาเป็นรูปตัว S เมื่อเหนี่ยวไกปืนเพื่อทำการยิง ปลายของชุดก็จะตีลงบนจานชนวนทำให้เกิดประกายไฟลุกไหม้ขึ้นที่เส้นด้ายและเข้าไปจุดระเบิดดินปืนที่อยู่ภายใน ทำให้เกิดแรงผลักลูกกระสุนออกไปได้

[แก้] ประวัติ

มีการนำมาใช้ในทวีปยุโรปในช่วงปีพุทธศักราช 1993 (ค.ศ.1450) และชาวโปรตุเกสก็นำปืนไฟเข้ามาในประเทศไทยในช่วงประมาณ 100 ปีหลังจากนั้น ซึ่งอยู่ในรัชสมัยของพระไชยราชาธิราช ซึ่งไทยนำมาใช้สู้รบกับพม่าจนได้รับชัยชนะอย่างง่ายดายในปีพุทธศักราช 2089 จนมีการตั้งกองอาสาโปรตุเกสขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่สู้รบโดยใช้อาวุธปืนไฟ และสอนการใช้อาวุธปืนไฟให้กับชาวไทย และหลังจากนั้น 2 ปี (พ.ศ. 2091) ในสมัยของสมเด็จพระศรีสุริโยไท ปืนไฟก็มามีบทบาทในการสู้รบกับพม่าเป็นอย่างมาก ในปีพุทธศักราช 2135 ปืนไฟได้เข้าเผยแพร่ในสยามอยู่เป็นระยะหนึ่งแล้ว แต่ก็เป็นปืนเล็กเท่านั้น ควาญท้ายช้างพระที่นั่งและคนกลางช้างสมเด็จพระเอกาทศรถก็ถูกปืนตาย แม้แต่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เองก็ถูกปืนไฟที่พระหัตถ์เพียงแต่ทรงมีบุญบารมีอยู่มากที่ถูกปืนหลังฟันพระมหาอุปราชาสิ้นพระชนม์แล้ว

[แก้] ดูเพิ่ม

ปืนไฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    
ปืนไฟแบบยาว
ปืนไฟแบบสั้น
ปืนไฟแบบสั้นอีกแบบ

ปืนไฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Question book-4.svg
ปืนไฟแบบยาว
ปืนไฟแบบสั้น
ปืนไฟแบบสั้นอีกแบบ